กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์
Phase 1 : สำรวจปัจจัยสำคัญ ( Research )
1) รู้จักตัวเอง-กำหนดเป้าหมาย > สำรวจความพร้อม ระบุวิธีวัดความสำเร็จ
2) เรียนรู้ผู้ใช้-ระบุกลุ่มผู้ใช้ > กำหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย
3) ศึกษาคู่เเข่ง-สำรวจการเเข่งขัน > บรรยากาศการเเข่ง เรียนรู้จากผู้เเข่ง
สิ่งที่ได้รับ
-เป้าหมายหลักของ เว็บไซต์
-ความต้องการของผู้ใช้
-กลยุทธ์ในการเเข่งขัน
Phase 2 : พัฒนาเนื้อหา (Site Content)
4) สร้างกลยุทธ์การออกเเบบ > ประยุกต์เนื้อหาจากสื่อ มีการปรับปรุงเนื้อหา เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5) หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหา > กำหนดเนื้อหาเเละการใช้งานที่จำเป็น เเล้วเเยกข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท
คือ เนื้อหา กับืการใช้งาน
สิ่งที่ได้รับ
-เเนวทางการออกเเบบเว็บไซต์
-ขอบเขตเนื้อหาเเละการใช้งาน
-ข้อมูลที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ
Phase 3 : พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure)
6) จัดระบบข้อมูล > จัดกลุ่มเเละระบุชื่อเนื้อหา
7) จัดทำโครงสร้างข้อมูล >โครงสร้างที่ดีจะช่วยสร้างระบบเนวิเกชั่นได้ง่าย
8) พัฒนาระบบเนวิเกชั่น > อาจต้องใช้เเผนภาพประกอบการสร้าง Flowchat หรือ Storyboard
สิ่งที่ได้รับ
-เเนวทางการออกเเบบเว็บไซต์
-ขอบเขตเนื้อหาเเละการใช้งาน
-ข้อมูลที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ
Phase 4 : ออกแบบเเละพัฒนาหน้สเว็บไซต์ (Visual Design)
9) ออกแบบลักษณะหน้าตาเว็บ > จัดแบ่งพื้นที่ในหน้าเว็บ โลโก้จะอยู่มุมซ้ายบนสุด
10)พัฒนาเว็บต้นแบบเเละข้อกำหนดสุดท้าย > ขั้นสุดท้ายเรียกว่า Final architecture blueprint
สิ่งที่ได้รับ
-ลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์
-เว็บต้นแบบที่ใช้ในการพัฒนา
-รูปแบบโครงสร้างของเว็บไซต์
ข้อกำหนดในการพัฒนาเว็บไซต์
Phase 5 : (Producttion & Operation)
11) ลงมือพัฒนาเว็บไซต์ > ตกเเต่งหน้าเว็บไซต์ สร้างเทมเพลต พัฒนาระบบ
12) เปิดเว็บไซต์ > ทดสอบคุณภาพการใช้งานเเละความถูกต้อง ทำให้เว็บเป็นที่รู้จัก
13) ดูแลเเละพัฒนาต่อเนื่อง> เพิ่มข้อมูลใหม่โดยยึดรูปแบบมาตรฐาน
สิ่งที่ได้รับ
-เว็บไซต์ที่สมบูรณ์
-เปิดตัวเว็บไซต์เเละทำให้เป็นที่รู้จัก
-เเนวทางการดูเเลเเละพัฒนาต่อไป
จัดระบบข้อมูลในเว็บไซต์
กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์
รู้เป้าหมาย >>> กลุ่มผู้ใช้หลักของเว็บไซต์
พัฒนาเนื้อหาเว็บ >>> เนื้อหาอะไร ?
หัวข้อหลักอะไรบ้าง ?
เเหล่งข้อมูลมาจากไหน ?
จัดข้อมูลให้เป็นระบบ <<< ข้อสรุปขอบเขตเนื้อหา
การจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล
- สร้างการเชื่อมโยงเเบบรายการย่อย
- จำกัดขอบเขตข้อมูลที่สัมพันธ์กันเอาไว้
- จัดลำดับความสำคัญของข้อมูลเเบบซ้อนกัน
การจัดกลุ่มสิ่งที่มีความเเตกต่างกัน
- เเตกต่างในส่วนของลักษณะตัวข้อมูล
- ความเเตกต่างของรูปแบบข้อมูล
แบบแผนระบบข้อมูล (Organizational Schema)
1) แบบแผนระบบข้อมูลแบบเเน่นอน
- ตามลำดับตัวอักษร Ex พจนานุกรม,สมุดโทรศัพท์,ห้องสมุด
-ตามลำดับเวลา Ex ข่าว,นิตยสาร,รายการทีวี,รายการหนัง
-ตามพื้อนที่ Ex พยากรณ์อากาศ,การเมือง,เศรษฐกิจของเเต่ละพื้นที่
-ตามหัวข้อ
-ตามผู้ใช้ที่เข้ามาบริการอย่างสม่ำเสมอ
-ตามการทำงาน
2) แบบแผนระบบข้อมูลเเบบไม่เเน่นอน
3) แบบแผนระบบข้อมูลแบบผสม
โครงสร้างข้อมูลในเว็บไซต์มี 3 รูปแบบ
1) โรงสร้างข้อมูลแบบลำดับขั้น เเต่ละกลุ่มควรเเยกออกจากกันอย่างชัดเจน,พิจารณาถึงความกว้าง
เเละลึกของโครงสร้างข้อมูล
2) โครงสร้างระะบบข้อมูลเเบบไฮเปอร์เท็กซ์ มีลักษณะคล้ายเครื่อข่ายโยงใย เเบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
รายการกลุ่มข้อมูลที่ถูกลิ้งค์กับลิ้งค์ที่เชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้น โครงสร้างนี้มีความยืดหยุ่นสูง
3) โครงสร้างข้อมูลเเบบฐานข้อมูล นิยมใช้กับเว็บขนาดใหญ่
ออกเเบบระบบเนวิเกชั้น
ข้อดี ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ ง่ายขึ้น เเละสามารถท่องเว็บได้อย่างคล่องตัวโดยไม่หลงทาง
สามารถรู้ได้ว่าตัวเองกำลังอยู่ที่ไหน ได้ผ่านมาที่ใดบ้าง เเละสามารถไปหนได้บ้าง
รูปแแบบของระบบเนวิเกชั้น เเบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ
1) ระบบเนวิเกชั้นแบบ ลำดับขั้น เป็นเเบบพื้นฐานคือมีหน้า โฮมเพจหนึ่งหน้า เเละมีลิ้งค์ไปยังหน้าอื่นๆ
มีข้อจำกัดคือ เคลื่อนที่ได้เฉพาะตำเเหน่ง บน-ล่าง
2) ระบบเนวิเกชั้นเเบบโกลบอล เสริมข้อจำกัดของระบเนวิเกชั้นเเบบลำดับขั้น ทำให้สามารถเคลื่อนที่ได้ทั้งเเนวตั้งเเละนอน ตำเเหน่งที่ดีที่สุด คือ ด้านบนสุดหรือล่างสุดของหน้าเว็บ
3) ระบบเนวิเกชั้นเเบบโลคอล สำหรับเว็บที่มีความซับซ้อนมาก ระบบมีลักษณะเฉพาะส่วน เฉพาะตัว
หัวข้อย่อยอยู๋ในหัวข้อหลัก เพิ่มความสะดวกยิ่งขึ้น
4) ระบบเนวิเกชั้นเฉพ่ะที่ เป็นเเบบเฉพาะตามความจำเป็นของเนื้อหา ซึ่งลิ้งค์จะฝังอยู่ในข้อความหรือประโยคนั้นๆ
องค์ประกอบของระบบเนวิเกชั่นหลัก
-วิเกชั่นบาร์ เเนวนอนอยู่ข้างบน อาจป็นตัวหนังสือหรือการฟฟิก
-วิเกชั่นบาร์ระบบเฟรม เเสดงเว็บหลายๆหน้าในหน้าต่าง Browser เดียวกัน อยู่คงที่
-Pull down menu มีรายการให้เลือกมากมายเเต่ใช้พื้นที่น้อย เหมาะสำหรับข้อมูลเดียวกันที่มีจำนวนมาก
-Pop up menu รายการของ menu จะเปิดขึ้นเอง
-Image Map การใช้รูปกราฟฟิกเป็นลิ้งค์
-Search Box การจัดเตรียมระบบสืบค้นข้อมูล สำหรับเว็บที่มีข้อมูลมาก
ระบบเนวิเกชั่นที่มีคุณภาพ ควรมีคุณสมบัติดังนี้
1) เข้าใจง่าย
2) มีความสม่ำเสมอ
3) มีการตอบสนองผู้ใช้
4) มีความพร้อมเเละเหมาะสมต่อการใช้งาน
5) นำเสนอหลายทางเลือก
6) มีขั้นตอนสั้นเเละประหยัดเวลา
7) มีรูปแบบที่สื่อความหมาย
8) มีคำอธิบายที่ชัดเจนเเละเข้าใจง่าย
9) เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของเว็บ
10) สนับสนุนเป้าหมายเเละพฤติกรรมของผู้ใช้